วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันพุธที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560


เนื้อหา

                     พัฒนาการทำให้เรารู้เด็ก และสามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับความสามารถของเขา เพราะการทำงานของสองตรงกับอายุเลยออกมาเป็นพัฒนาการทางสติปัญญา สมองมักมีการทำงานเป็นลำดับขั้นอย่างต่อเนื่อง เราจึงต้องใช้อายุมากำกับเพื่อที่จะได้เห็นถึงขั้นตอนของมัน และสมองจะทำงาน รับรู้ หรือสั่งการได้โดยเครื่องมือที่เด็กทุกคนมีคือ ประสาทสัมผัสทั้ง 5

ยกตัวอย่างนักทฤษฎี  คือ

 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรุนเนอร์ 

       บรูเนอร์ได้แบ่งพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์ออกเป็น 3 ขั้นใหญ่ ๆ คือ
       1. ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ (Enactive Stage)   
คือ ขั้นของการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ การลงมือกระทำช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
       2. ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage)   เป็นขั้นที่เด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้
       3. ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้



 ทฤษฎีของไวก็อตสกี้

         เขาเชื่อว่าเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนในสภาพแวดล้อมของเขาจากความร่วมมือของเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน การมองดู (Peer)เป็นกระบวนการที่สนับสนุนและเพิ่มพูนพัฒนาการ ทำให้พัฒนาการเกิดการเปลี่ยนแปลงจากภายใน เด็กจะมีการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดกัน มีความชอบที่ไม่เหมือนกัน จึงเกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน นั่นคือ เด็กที่กำลังจะก้าวข้ามไปข้างขน้า และประสบความสำเร็จในระดับสูงขึ้น ต้องได้รับคงามช่วยเหลือหรือกระตุ้นให้เด็กมี "สมรรถนะ" เด็กจึงจะได้พัฒนาแนวคิดใหม่ๆ โดยที่ครู ผู้ปกครอง และทุกๆ คนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็ก จากแนวทฤษฎีนี้เราจึงนำมาจัดกิจกรรมให้มีการพูดคุย สนทนา
         เขาเชื่อว่าความร่วมมือระหว่างครูกับเด็ก ผู้ปกครองกับเด็ก ทำให้เด็กสามารถใช้แนวคิดที่ได้เรียนรู้จากกระบวนการดังกล่าวในการแก้ปัญหาหลังจากที่ไม่มีครูคอยช่วยเหลืออีกต่อไป
                            


                                                ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 


 ความหมายคณิตศาสตร์
        คือ   วิชาที่ว่าด้วยการคำนวณทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ การนับ การประมาณ 
มีความสัมพันธ์กับชีวิตประจำวันของมนุษย์ เด็กใช้คณิตศาสตร์อย่างง่ายจากความคิดของตนนแล้วค่อยๆพัฒนาถึงความคิดแบบคณิตศาสตร์อย่างถูกต้อง

ความสำคัญของคณิตศาสตร์ 
              คือ   เป็นทั้งศาสตร์และศิลปะ เกี่ยวข้องกับการคิดที่มีเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็นเครื่องมือที่ใช้ฝึกการคิดอย่างมีระบบและวิธีการ สร้างสรรค์คนให้มีนิสัยละเอียดรอบคอบ

ประโยชน์ของคณิตศาสตร์  
           ใช้ในชีวิตประจำวันให้มีประสิทธิภาพ คณิตศาสตร์เป็นเรื่องนามธรรมที่อาศัยสัญลักษณ์แทนนามธรรม ภาษาคริตศาสตร์จะนำเด็กไปสู่ความเข้าใจโลกและสรรสิ่งต่างๆรอบตัว


ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 
   กระบวนการทางความคิดและการพัฒนาความสามารถด้านต่างๆ ประกอบไปด้วย
      1).  การนับ(Counting) เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก การนับอย่างมีความหมาย การนับตามลำดับ ตั้งแต 1-10 หรือมากกว่า

     2.   ตัวเลข(Number) เป็นการให้เด็กรูจักตัวเลขที่เห็น หรือใช้ในชีวิตประจำวัน เล่นของเล่นที่เกี่ยวกับตัวเลข นับและคิดเองโดยครูเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม อาจมี การเปรียบเทียบด้วย เช่น มากกว่า น้อยกว่า


     3.  การจับคู่(Matching) เป็นการฝึกฝน รูจักสังเกตลักษณะ จับคู เหมือนกัน หรืออยูประเภทเดียวกัน


     4. การจัดประเภท(Classification)  ให้รูจักการสังเกต  คุณสมบัติสิ่งรอบตัว ในเรื่องของ เหมือนกันหรือแตกต่างกันในบางเรื่อง การจัดประเภท


     5.  การเปรียบเทียบ(Comparing) ตองมีการสืบเสาะและหาความสัมพันธ์ ของสองสิ่ง รู้มากกวา น้อยกว่า ยาว สั้น เบา หนัก


     6.  การจัดลำดับ(Ordering) การจัดสิ่งของชุดหนึ่ง ๆ ตาม คําสั่ง หรือตาม กฎ เชน จัดบล็อก แทง ที่มีความยาวไมเท่ากัน เรียงลําดับจากสูงไปต่ำ สั้นไปยาว


     7.  รูปทรงหรือเนื้อที่(Shape and Space) นอกจากใหเด็กไดเรียนรูเรื่องรูปทรง และเนื้อที่จากการเลนตามปกติแลว ครูยังตองจัดประสบการณใหเด็กไดเรียนรูเกี่ยวกับ วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา ความลึกตื้น กวางแคบ

      8.  การวัด(Measurement) ใหเด็กลงมือวัดดวยตนเอง ใหรูจักความยาว และระยะ รูจักการชั่งน้ำหนัก และรูจักประมาณคราว ๆ

     9. เซต(Set) การสอนเรื่องเซต จากสิ่งรอบ ๆ ตัว มีการเชื่อมโยงกับ สภาพรวม เชน รองเทา กับ ถุงเทา หองเรียนมีบุคคลหลายประเภท แยกเปนเซต คือ นักเรียน ครูประจําชั้น ครูชวยสอน เปนตน


    10.  เศษส่วน(Fraction) สอนความคิดรวบยอดเกี่ยวกับครึ่งเนนสวนรวม (The Whole Object) ใหเด็กเห็นก่อนมีการลงมือ ปฏิบัติเพื่อให้เด็กไดเขาใจความหมายครึ่ง


    11.  การทำตามแบบหรือลวดลาย(Patterning) เปนการพัฒนาใหเด็กจดจํารูปแบบ หรือลวดลาย จําแนกดวยสายตา การสังเกต ฝกทําตามแบบและลากตอจุด ใหสมบูรณ


    12.  การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ(Conservation)  ชวงวัย ขวบ ขึ้นไป ครูอาจเริ่มสอนเรื่องการอนุรักษไดบาง โดยใหเด็กไดลงมือปฏิบัติจริง จุดมุงหมายของการสอนเรื่อง คือเด็กไดมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษที่วา จะยายที่หรือทําใหมีรูปรางเปลี่ยนไปก็ตาม




ประโยชน์ที่ได้รั

     ทำให้เราได้เข้าใจพัฒนาการทางความคิดของเด็กปฐมวัยมากยิ่งขึ้น. ได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ จากการแลกเปลี่ยนความรู้  รู้จักพื้นฐสนของคณิตศาสตร์



การประเมิน

ตนเอง : ตั้งใจเรียน  ฟังอาจารย์สอน แต่มีความรู้สึกง่วงมากๆ
เพื่อน : ตั้งใจฟังครู จดความรู้ตลอดเวลาที่ครูพูด  แต่ก็มีการคุยกันบ้างเล็กน้อย
อาจารย์ : ตั้งใจสอน กระตุ้นความคิดนักศึกษาจากการถามคำถามนักศึกษาได้เป็นอย่างดี



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น